Urbanization ของประเทศไทยมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง จากประมาณ 36% ในปี 2550 สู่ 55% ในปี 2567 ซึ่งหมายความว่าประชากรครึ่งหนึ่งอาศัยอยู่ในเมืองและเขตเมือง ตั้งแต่กรุงเทพปริมลฑล และหัวเมืองใหญ่ๆ อย่างเชียงใหม่ สงขลา ภูเก็ต โคราช และขอนแก่น
ปัจจัยหลักที่ขับเคลื่อน urbanization ของประเทศไทย ได้แก่
– การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความเจริญด้านอุตสาหกรรม ซึ่งดึงดูดแรงงานจากชนบทเข้ามาทำงานในเมือง
– การขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว ซึ่งสร้างรายได้ให้กับประเทศและสร้างงานให้กับประชาชน
– การขยายตัวของการศึกษาระดับอุดมศึกษา ซึ่งทำให้เยาวชนจากชนบทมีโอกาสเข้าถึงการศึกษาที่สูงขึ้นในเมือง
แต่ก็มีความท้าทาย ได้แก่
– ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม
– ปัญหามลพิษและสิ่งแวดล้อม
– ปัญหาการจราจรและระบบขนส่งมวลชน